"องค์กรผู้นำด้านก๊าซเรือนกระจก

ERDI-CMU พัฒนา”ระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรีเพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ลดการปล่อยก๊าคาร์บอน8.6 เมตริกตันต่อปี

แบ่งปันเรื่องราวนี้ผ่านช่องทาง

สถาบันพลังงาน มช. พัฒนา”ระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรีเพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ลดการปล่อยก๊าคาร์บอน8.6 เมตริกตันต่อปี

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินงานโครงการการพัฒนาระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม โดยตำแหน่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

 1)การศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบแบตเตอรี่ และระบบการจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของแบตเตอรี่

2) .การทดสอบระบบต้นแบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน และบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ให้มีเสถียรภาพในการทำงาน

ในการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลข ของระบบจัดการความร้อน ปัจจุบันได้ทำการศึกษาในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยอากาศ ระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยน้ำ และระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วย phase change media จากการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ น้ำ และ phase change media wบว่า ระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ จะเป็นระบบการมีการจัดการทางด้านความร้อนที่มีการกระจายตัวที่ดีที่สุด คือ การหมุนเวียนของอากาศกระจายตัวไปตามระบบแบตเตอรี่ได้อย่างทั่วถึง สามารกระบายความร้อนของแบตเตอร์ได้ในทุกพื้นผิวงองบตตอรี่ โดยสามารถลดอุณหภูมิได้ประมาณ 6-8 องศาเซลเซียส อีกทั้งตัวระบบสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว ตามขอบเขตการทำงานที่ตั้งไว้ จึงเลือกระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ

ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ ในการนำไปสร้างเป็นต้นแบบในการจัดการทางด้านอุณหพลศาสตร์ของระบบแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 Wh เพื่อนำไปติดตั้งและทดสอบในการใช้งานจริงกายในอาคารที่มีการเชื่อมต่อเป็นโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก

ในการสร้างระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นระบบที่ควบคุมและสั่งการการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อนด้วยอากาศ ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ โดยในขณะแบตเตอรี่ทำงานในการอัดและคายประจุ หากอุณหภูมิของแบตเตอรี่มีอุณหภูมิสูงกว่าที่กำหนดไว้ (38 *C) ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งไปเปิดระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ ให้ทำงานในการควบคุมอุณหภูมิของแบตตอรี่ให้ไม่เกินที่ (50 *C) และเมื่ออุณหภูมิของแบตเตอรี่ต่ำกว่าค่าที่กำหนด ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งให้ระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศหยุดการทำงาน ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นบอร์ดที่รับข้อมูลของอุณหภูมิจากการวัดอุณหภูมิภายในเซลล์ แล้วประมวลผลตามการตั้งค่าขอบเขตของอุณหภูมิในการส่งคำสั่งต่างๆ ไปควบคุมการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อน

การเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการทำงานของระบบแบตเตอรี่ร่วมกับไฟฟ้าจากสายส่ง และเซลล์แสงอาทิตย์ ของการใช้ไฟฟ้ากายในอาคาร จะมีการต่อระบบไฟฟ้าของพลังงานไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เข้าไปมายังอาคารต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าหลัก โดยมีขนาดกำลังการผลิตรวม ที่ 30 kW ในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 5 kWh จำนวน2 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 3 kW และระบบการบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ทั้ง 2 ระบบ โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้ากายในห้อง server ของอาคาร และในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 25 kWh จำนวน 1 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 15 kW และระบบการบริหารจัดการ

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้าของระบบปรับอากาศของชั้น 2 ภายในอาคาร โดยระบบโครงข่ายไฟฟ้าของระบบจะมีการแสดงคำสถานะการทำงานแบu Real time ผ่านระบบ onlineรูปแบบการแสดงผล จะมีการแสดงผลทุกๆ 15 นาที โดยคำการแสดงผล จะแสดงค่า การใช้ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจาก

ไฟกริด ค่าปริมาณและกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทน ค่า %S0C และปริมาณไฟฟ้าของแบตเตอรี่ รวมถึง

ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจากการใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมดของอาคาร

จากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า ปัจจุบันระบบแบตเตอรี่ยังมีราคาสูง มีระยะเวลาใน

การคืนทุนของการลงทุน ประมาณ 10 ปี ถือเป็นการลงทุนที่มีระยะเวลาในการคืนทุนที่ค่อนข้างนาน โดยหากราคาต้นทุน

ของระบบแบตเตอรี่ มีราคาลดลงเหลือไม่สูงกว่า 20,000 บาท/kWh จะมีระยะเวลาในการคืนทุนของการลงทุนน้อยกว่า

7 ปี ทำให้ระบบแบตเตอรี่มีความน่าสนใจในการลงทุนเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิต

1. ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ในการอัด และคายประจุ เพื่อ

ยืดอายุการทำงานของระบบแบตเตอรี่ สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม

2. ระบบ บริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตตอรี่แบบลิเธียม ในการควบคุม และติดตามการ

ทำงานของระบบ และเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

3. โครงง่ายระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า จำนวน 3 แหล่งกักเก็บ รวม 35 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อใช้ร่วมกับโครงง่าย

ไฟฟ้าอัจฉริยะ (smart grid) ในบ้านเรือน ขนาด 5 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ ในอุตสาหกรรม ขนาด 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ

ระบบติดตามการทำงานแบบ real time

ผลลัพธ์

1. เพิ่มความเสถียรภาพ ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

จากระบบจัดการการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ร่วมกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเซลล์

แสงอาทิตย์

2. ลดความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดรวมเท่ากับ 35 กิโลวัตต์ ในเวลาที่มีการใช้พลังงานสูงสุด และ

ลดการใช้พลังงานจากการกักเก็บพลังงานไม่น้อยกว่า 11,550 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี คิดเป็น 9.93 x 10-4 ktoe ต่อปี

และช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 8.6 metric tons ต่อปี

3. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ในการประเมิน

ความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์นโยบาย Energy 4.0 และ AEDP ของประเทศ

สถาบันพลังงาน มช. พัฒนา”ระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรีเพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ลดการปล่อยก๊าคาร์บอน8.6 เมตริกตันต่อปี

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินงานโครงการการพัฒนาระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม โดยตำแหน่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

 1)การศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบแบตเตอรี่ และระบบการจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของแบตเตอรี่

2) .การทดสอบระบบต้นแบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน และบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ให้มีเสถียรภาพในการทำงาน

ในการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลข ของระบบจัดการความร้อน ปัจจุบันได้ทำการศึกษาในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยอากาศ ระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยน้ำ และระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วย phase change media จากการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ น้ำ และ phase change media wบว่า ระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ จะเป็นระบบการมีการจัดการทางด้านความร้อนที่มีการกระจายตัวที่ดีที่สุด คือ การหมุนเวียนของอากาศกระจายตัวไปตามระบบแบตเตอรี่ได้อย่างทั่วถึง สามารกระบายความร้อนของแบตเตอร์ได้ในทุกพื้นผิวงองบตตอรี่ โดยสามารถลดอุณหภูมิได้ประมาณ 6-8 องศาเซลเซียส อีกทั้งตัวระบบสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว ตามขอบเขตการทำงานที่ตั้งไว้ จึงเลือกระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ

ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ ในการนำไปสร้างเป็นต้นแบบในการจัดการทางด้านอุณหพลศาสตร์ของระบบแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 Wh เพื่อนำไปติดตั้งและทดสอบในการใช้งานจริงกายในอาคารที่มีการเชื่อมต่อเป็นโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก

ในการสร้างระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นระบบที่ควบคุมและสั่งการการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อนด้วยอากาศ ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ โดยในขณะแบตเตอรี่ทำงานในการอัดและคายประจุ หากอุณหภูมิของแบตเตอรี่มีอุณหภูมิสูงกว่าที่กำหนดไว้ (38 *C) ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งไปเปิดระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ ให้ทำงานในการควบคุมอุณหภูมิของแบตตอรี่ให้ไม่เกินที่ (50 *C) และเมื่ออุณหภูมิของแบตเตอรี่ต่ำกว่าค่าที่กำหนด ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งให้ระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศหยุดการทำงาน ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นบอร์ดที่รับข้อมูลของอุณหภูมิจากการวัดอุณหภูมิภายในเซลล์ แล้วประมวลผลตามการตั้งค่าขอบเขตของอุณหภูมิในการส่งคำสั่งต่างๆ ไปควบคุมการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อน

การเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการทำงานของระบบแบตเตอรี่ร่วมกับไฟฟ้าจากสายส่ง และเซลล์แสงอาทิตย์ ของการใช้ไฟฟ้ากายในอาคาร จะมีการต่อระบบไฟฟ้าของพลังงานไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เข้าไปมายังอาคารต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าหลัก โดยมีขนาดกำลังการผลิตรวม ที่ 30 kW ในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 5 kWh จำนวน2 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 3 kW และระบบการบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ทั้ง 2 ระบบ โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้ากายในห้อง server ของอาคาร และในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 25 kWh จำนวน 1 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 15 kW และระบบการบริหารจัดการ

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้าของระบบปรับอากาศของชั้น 2 ภายในอาคาร โดยระบบโครงข่ายไฟฟ้าของระบบจะมีการแสดงคำสถานะการทำงานแบu Real time ผ่านระบบ onlineรูปแบบการแสดงผล จะมีการแสดงผลทุกๆ 15 นาที โดยคำการแสดงผล จะแสดงค่า การใช้ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจาก

ไฟกริด ค่าปริมาณและกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทน ค่า %S0C และปริมาณไฟฟ้าของแบตเตอรี่ รวมถึง

ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจากการใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมดของอาคาร

จากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า ปัจจุบันระบบแบตเตอรี่ยังมีราคาสูง มีระยะเวลาใน

การคืนทุนของการลงทุน ประมาณ 10 ปี ถือเป็นการลงทุนที่มีระยะเวลาในการคืนทุนที่ค่อนข้างนาน โดยหากราคาต้นทุน

ของระบบแบตเตอรี่ มีราคาลดลงเหลือไม่สูงกว่า 20,000 บาท/kWh จะมีระยะเวลาในการคืนทุนของการลงทุนน้อยกว่า

7 ปี ทำให้ระบบแบตเตอรี่มีความน่าสนใจในการลงทุนเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิต

1. ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ในการอัด และคายประจุ เพื่อ

ยืดอายุการทำงานของระบบแบตเตอรี่ สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม

2. ระบบ บริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตตอรี่แบบลิเธียม ในการควบคุม และติดตามการ

ทำงานของระบบ และเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

3. โครงง่ายระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า จำนวน 3 แหล่งกักเก็บ รวม 35 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อใช้ร่วมกับโครงง่าย

ไฟฟ้าอัจฉริยะ (smart grid) ในบ้านเรือน ขนาด 5 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ ในอุตสาหกรรม ขนาด 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ

ระบบติดตามการทำงานแบบ real time

ผลลัพธ์

1. เพิ่มความเสถียรภาพ ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

จากระบบจัดการการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ร่วมกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเซลล์

แสงอาทิตย์

2. ลดความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดรวมเท่ากับ 35 กิโลวัตต์ ในเวลาที่มีการใช้พลังงานสูงสุด และ

ลดการใช้พลังงานจากการกักเก็บพลังงานไม่น้อยกว่า 11,550 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี คิดเป็น 9.93 x 10-4 ktoe ต่อปี

และช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 8.6 metric tons ต่อปี

3. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ในการประเมิน

ความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์นโยบาย Energy 4.0 และ AEDP ของประเทศ

สถาบันพลังงาน มชC

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินงานโครงการการพัฒนาระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม โดยตำแหน่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

 1)การศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบแบตเตอรี่ และระบบการจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของแบตเตอรี่

2) .การทดสอบระบบต้นแบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน และบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ให้มีเสถียรภาพในการทำงาน

ในการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลข ของระบบจัดการความร้อน ปัจจุบันได้ทำการศึกษาในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยอากาศ ระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยน้ำ และระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วย phase change media จากการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ น้ำ และ phase change media wบว่า ระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ จะเป็นระบบการมีการจัดการทางด้านความร้อนที่มีการกระจายตัวที่ดีที่สุด คือ การหมุนเวียนของอากาศกระจายตัวไปตามระบบแบตเตอรี่ได้อย่างทั่วถึง สามารกระบายความร้อนของแบตเตอร์ได้ในทุกพื้นผิวงองบตตอรี่ โดยสามารถลดอุณหภูมิได้ประมาณ 6-8 องศาเซลเซียส อีกทั้งตัวระบบสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว ตามขอบเขตการทำงานที่ตั้งไว้ จึงเลือกระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ

ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ ในการนำไปสร้างเป็นต้นแบบในการจัดการทางด้านอุณหพลศาสตร์ของระบบแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 Wh เพื่อนำไปติดตั้งและทดสอบในการใช้งานจริงกายในอาคารที่มีการเชื่อมต่อเป็นโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก

ในการสร้างระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นระบบที่ควบคุมและสั่งการการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อนด้วยอากาศ ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ โดยในขณะแบตเตอรี่ทำงานในการอัดและคายประจุ หากอุณหภูมิของแบตเตอรี่มีอุณหภูมิสูงกว่าที่กำหนดไว้ (38 *C) ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งไปเปิดระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ ให้ทำงานในการควบคุมอุณหภูมิของแบตตอรี่ให้ไม่เกินที่ (50 *C) และเมื่ออุณหภูมิของแบตเตอรี่ต่ำกว่าค่าที่กำหนด ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งให้ระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศหยุดการทำงาน ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นบอร์ดที่รับข้อมูลของอุณหภูมิจากการวัดอุณหภูมิภายในเซลล์ แล้วประมวลผลตามการตั้งค่าขอบเขตของอุณหภูมิในการส่งคำสั่งต่างๆ ไปควบคุมการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อน

การเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการทำงานของระบบแบตเตอรี่ร่วมกับไฟฟ้าจากสายส่ง และเซลล์แสงอาทิตย์ ของการใช้ไฟฟ้ากายในอาคาร จะมีการต่อระบบไฟฟ้าของพลังงานไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เข้าไปมายังอาคารต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าหลัก โดยมีขนาดกำลังการผลิตรวม ที่ 30 kW ในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 5 kWh จำนวน2 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 3 kW และระบบการบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ทั้ง 2 ระบบ โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้ากายในห้อง server ของอาคาร และในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 25 kWh จำนวน 1 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 15 kW และระบบการบริหารจัดการ

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้าของระบบปรับอากาศของชั้น 2 ภายในอาคาร โดยระบบโครงข่ายไฟฟ้าของระบบจะมีการแสดงคำสถานะการทำงานแบu Real time ผ่านระบบ onlineรูปแบบการแสดงผล จะมีการแสดงผลทุกๆ 15 นาที โดยคำการแสดงผล จะแสดงค่า การใช้ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจาก

ไฟกริด ค่าปริมาณและกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทน ค่า %S0C และปริมาณไฟฟ้าของแบตเตอรี่ รวมถึง

ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจากการใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมดของอาคาร

จากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า ปัจจุบันระบบแบตเตอรี่ยังมีราคาสูง มีระยะเวลาใน

การคืนทุนของการลงทุน ประมาณ 10 ปี ถือเป็นการลงทุนที่มีระยะเวลาในการคืนทุนที่ค่อนข้างนาน โดยหากราคาต้นทุน

ของระบบแบตเตอรี่ มีราคาลดลงเหลือไม่สูงกว่า 20,000 บาท/kWh จะมีระยะเวลาในการคืนทุนของการลงทุนน้อยกว่า

7 ปี ทำให้ระบบแบตเตอรี่มีความน่าสนใจในการลงทุนเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิต

1. ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ในการอัด และคายประจุ เพื่อ

ยืดอายุการทำงานของระบบแบตเตอรี่ สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม

2. ระบบ บริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตตอรี่แบบลิเธียม ในการควบคุม และติดตามการ

ทำงานของระบบ และเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

3. โครงง่ายระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า จำนวน 3 แหล่งกักเก็บ รวม 35 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อใช้ร่วมกับโครงง่าย

ไฟฟ้าอัจฉริยะ (smart grid) ในบ้านเรือน ขนาด 5 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ ในอุตสาหกรรม ขนาด 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ

ระบบติดตามการทำงานแบบ real time

ผลลัพธ์

1. เพิ่มความเสถียรภาพ ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

จากระบบจัดการการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ร่วมกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเซลล์

แสงอาทิตย์

2. ลดความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดรวมเท่ากับ 35 กิโลวัตต์ ในเวลาที่มีการใช้พลังงานสูงสุด และ

ลดการใช้พลังงานจากการกักเก็บพลังงานไม่น้อยกว่า 11,550 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี คิดเป็น 9.93 x 10-4 ktoe ต่อปี

และช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 8.6 metric tons ต่อปี

3. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ในการประเมิน

ความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์นโยบาย Energy 4.0 และ AEDP ของประเทศ

 

สาระน่ารู้ที่น่าสในใจ

เข้าสู่ระบบ

แจ้งเบาะแส "ทุจริต หรือ มิชอบ"

การกรอกข้อมูลสำหรับการร้องเรียนการทุจริตและพฤติกรรมมิชอบนั้นจะถูกเก็บเป็นความลับ ข้อมูลส่วนตัวของท่าน  ชื่อ-นามสกุล อีเมล์ และเบอร์โทรศัพท์ เป็นช่องทางในการติดต่อกลับและรายงานการดำเนินการให้ท่านรับทราบ
* หมายเหตุ : การร้องเรียนการทุจริตและพฤติกรรมมิชอบเมื่อกรอกข้อมูลแล้ว จะรายงานส่งไปยังผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน

แจ้งข้อร้องเรียน/ข้อเสนอแนะ

ข้อแนะนำในการใช้งาน


ข้อตกลงการใช้ระบบ
1.ระบบ VOC หรือ Voice of Customer นี้เป็นช่องทางหนึ่งที่จัดทำขึ้นเพื่อรับฟังเสียงจากนักศึกษา บุคลากร นักศึกษาเก่า และบุคคลทั่วไป โดยจะรวบรวมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียนต่าง ๆ จากผู้รับบริการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาบริการของสำนักให้มีคุณภาพมาตรฐานที่ดี และตรงตามความต้องการของผู้รับบริการให้มากยิ่งขึ้น
2. การแจ้งข้อร้องเรียนหรือพบปัญหาการใช้บริการ มีความจำเป็นที่จะต้องทราบข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญเบื้องต้น เช่น ชื่อนามสกุล อีเมล หมายเลขโทรศัพท์ ข้อเท็จจริงที่พบปัญหา วันเวลาที่เกิดเหตุการณ์ ข้อมูลของระบบที่ใช้ และรูปภาพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับ และเพื่อให้การตรวจสอบหรือแก้ไขปัญหาแก่ผู้รับบริการทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
3. ข้อความที่ใช้ควรเป็นถ้อยคำที่สุภาพ เป็นไปตามทำนองคลองธรรม และถูกต้องตามกฎหมาย
4. การนำความอันเป็นเท็จมาร้องเรียน หรือบิดเบือนข้อเท็จจริง ซึ่งอาจทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย หรือมีเจตนากลั่นแกล้งผู้อื่น ผู้ร้องอาจต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง ทางวินัยและทางอาญา
5. เป็นเรื่องที่ผู้ได้รับความเดือดร้อน หรือเสียหาย หรือขอให้แก้ไข อันเนื่องมาจากผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยหรือจากส่วนงานในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
6. กรณีที่ผู้แจ้งไม่ได้ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอหรือไม่เปิดเผยตัวตน และสำนักฯ ไม่สามารถติดต่อประสานขอข้อมูลเพิ่มเติมได้ สำนักฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการไม่พิจารณาเรื่องดังกล่าว แต่หากเป็นข้อเสนอแนะอย่างสร้างสรรค์ที่เป็นประโยชน์ สำนักฯ มีความยินดีจะรับเรื่องดังกล่าวไปพัฒนาการให้บริการของสำนักให้ดีที่สุดต่อไป
7. เรื่องที่ไม่ปรากฏตัวตนผู้ร้องหรือตรวจสอบตัวตนของผู้ร้องไม่ได้ หรือมีลักษณะเป็นบัตรสนเท่ห์ อาจรับไว้พิจารณาก็ได้ ถ้าหากระบุหลักฐานกรณีแวดล้อมปรากฏชัดแจ้ง ตลอดจนชี้พยานบุคคลแน่นอน สามารถสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงต่อไปได้และเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ
8. หลังจากที่ระบบได้รับเรื่องจากผู้แจ้งแล้ว หากผู้แจ้งได้ให้อีเมล (email) ไว้ ระบบจะมีการติดตามความคืบหน้าโดยอัตโนมัติ และรายงานผลการพิจารณาหรือข้อสรุปการดำเนินการที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้แจ้งทราบโดยเร็วผ่านทางอีเมล์ของผู้แจ้ง

* ข้าพเจ้าได้อ่านข้อตกลงเป็นอย่างดีแล้ว และยอมรับตามข้อตกลงนี้
* โปรดระบุ Email และเบอร์โทรศัพท์ของท่าน เพื่อใช้ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม และแจ้งความคืบหน้าในการดำเนินการให้ทราบผ่านทาง Email

การกรอกข้อมูลสำหรับการร้องเรียนการทุจริตและพฤติกรรมมิชอบนั้นจะถูกเก็บเป็นความลับ ข้อมูลส่วนตัวของท่าน  ชื่อ-นามสกุล อีเมล์ และเบอร์โทรศัพท์ เป็นช่องทางในการติดต่อกลับและรายงานการดำเนินการให้ท่านรับทราบ
* หมายเหตุ : การร้องเรียนการทุจริตและพฤติกรรมมิชอบเมื่อกรอกข้อมูลแล้ว จะรายงานส่งไปยังผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน