นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีพลังงาน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง เข้าศึกษาดูงานกระบวนการผลิตพลังงานทางเลือกก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอย พร้อมเยี่ยมชมโครงการก่อสร้างและติดตั้งระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ่านต่อ...ผศ.ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี ผู้อำนวยการ ผศ.ดร.สิริชัย คุณภาพดีเลิศ รองผู้อำนวยการ และเจ้าหน้าที่ สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้การต้อนรับ คุณดรุณพร กมลภุส ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนานวัตกรรมและดิจิทัล บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) พร้อมคณะฯ ในโอกาสเข้าศึกษาดูงานเทคโนโลยีพลังงานทดแทน
อ่านต่อ...โซลาร์ฟาร์มลอยน้ำใหญ่ที่สุดในโลก ณ ทะเลสาบเมืองอันฮุย ทางภาคตะวันออกของประเทศจีน
นอกจากจะเป็นเจ้าของโซลาร์ฟาร์มภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในโลกแล้ว จีนก็ยังเป็นเจ้าของโซลาร์ฟาร์ม ลอยน้ำที่ใหญ่ ที่สุดในโลก ยิ่งไปกว่านั้น ยังถูกสร้างขึ้นเกือบเต็มพื้นผิวน้ำของทะเลสาบที่เคยเป็นเหมืองถ่านหิน ครอบคลุมพื้นที่กว่า 537.5 ไร่ หรือเทียบเท่ากับสนามฟุตบอล มาตรฐาน 121 สนาม มีแผงโซลาร์ ที่รับพลังงานแสงอาทิตย์กว่า 165,000 แผง
อ่านต่อ...พูดถึงมูลคน ใครๆ ก็ไม่ค่อยสนใจ เพราะคิดว่าเป็นสิ่งที่น่ารังเกียจ มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ ไร้ค่า แต่ปัจจุบันมูลคนสามารถนำมาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนให้กับประเทศชาติได้ ด้วยเทคโนโลยีการหมักย่อยแบบไร้อากาศ หากผลิตก๊าซชีวภาพได้ปริมาณมากพอ เราก็สามารถใช้แทนก๊าซหุงต้มได้เลยทีเดียว
อ่านต่อ...แดนอาทิตย์อุทัย แปรสภาพจากสนามกอล์ฟร้างสู่ โรงผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
จากสนามตีกอล์ฟที่ถูกทิ้งให้ร้าง ในดินแดนอาทิตย์อุทัย ใกล้เมืองเกียวโต กำลังจะถูกดัดแปลงให้เป็น พื้นที่โรงงานผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
อ่านต่อ...หลอดไฟจะให้พลังงานระหว่าง 40 และ 100 วัตต์ รวมถึงความยาวคลื่นอินฟราเรด หากคุณถือแผงโซลาร์เซลล์ใกล้กับหลอดไฟก็จะได้รับแสงในปริมาณใกล้เคียงกับดวงอาทิตย์
อ่านต่อ...หากในช่วงฤดูฝนมีฝนฟ้าคะนองและฟ้าผ่าที่รุนแรง อาจเป็นเรื่องร้ายแรงสำหรับ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์รวมถึงระบบโซลาร์เซลล์ได้ เพราะทุกครั้งที่ฟ้าผ่าจะเกิดสนามแม่เหล็กความเข้มสูงมากบริเวณที่มีระบบโซลาร์เซลล์ติดตั้งอยู่ถึงแม้จะไม่ได้ผ่าโดยตรงก็ตาม
อ่านต่อ...สีทาบ้านในวันนี้กำลังจะเป็นมากกว่าสีที่ไว้เพิ่มความสวยงามหรือไว้ป้องกันตัวบ้านเท่านั้น เนื่องจากนักวิจัยได้พัฒนาสีโฟโตวอลเทอิก (photovoltaic paint) ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการทาสีบนเซลล์แสงอาทิตย์ ซึ่งดูดกลืนพลังงานจากดวงอาทิตย์และเปลี่ยนไปเป็นกระแสไฟฟ้าได้ ในการศึกษาใหม่นี้ นักวิจัยได้สร้างสีเทอร์โมอิเล็กทริก (thermoelectric) ที่จะนำความร้อนเหลือทิ้ง (waste heat) จากพื้นผิวที่เป็นแหล่งกำเนิดความร้อนและแปลงเป็นพลังงานไฟฟ้า
อ่านต่อ...