CMU-CSTR เทคโนโลยีที่สามารถเปลี่ยนพืชพลังงานให้กลายเป็นพลังงานทดแทนในรูปของก๊าซชีวภาพได้ สร้างรายได้ เพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการเกษตร
Read MoreRefuse Derived Fuel : RDF โดยทั่วไปนิยมเรียกว่า เชื้อเพลิงขยะ แต่สำหรับคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนช. เรียกว่า ก้อนเชื้อเพลิงขยะ และได้มีการพิจารณาศึกษา RDF ซึ่งเป็นประโยชน์กับการจัดการขยะชุมชน รวมทั้งขยะอุตสาหกรรมที่ไม่ใช่ขยะอันตราย ซึ่งมีการทิ้งปะปนกันจนแยกออกได้ยาก จึงขออนุญาตสรุปเนื้อหาของผลการศึกษาจากคณะกรรมาธิการพร้อมแนวคิดจากประสบการณ์ เพื่อเป็นแนวทางการจัดการขยะแบบไทยๆ
Read Moreงานสร้างระบบต้นแบบการผลิตก๊าซชีวภาพจากหญ้าเนเปียร์ แบบ CSTR
สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับมอบหมายจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ให้ดำเนินการสร้างระบบต้นแบบการผลิตก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน ด้วยระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบ CSTR ภายใต้โครงการวิจัยโปรแกรมพัฒนาการผลิตและใช้พลังงานจากพืชพลังงาน เป็นพลังงานทดแทนการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา
Read Moreเต้าหู้…ผลิตภัณฑ์จาก ‘ถั่วเหลือง’ ซึ่งเป็นแหล่งโปรตีนเส้นใยสูง และมีคุณค่าทางอาหารไม่แพ้โปรตีนจากเนื้อสัตว์ สามารถนำมาดัดแปลงทำเป็นเมนูอาหารได้หลากหลาย ถือเป็นอาหารสารพัดประโยชน์เพื่อสุขภาพ แต่ในกระบวนการผลิตกว่าจะได้มาซึ่งเต้าหู้นั้น จะมีใครรู้บ้างว่า เต้าหู้ที่ผลิตได้จากถั่วเหลืองเพียง 1 กิโลกรัม ต้องใช้น้ำในการผลิตมากถึง 10 ลิตร และผลจากน้ำเสียที่ผ่านกระบวนการผลิตนั้นหากไม่ได้มีการบำบัด จะก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
Read Moreเคล็ดลับดีๆเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในการเลี้ยงสัตว์
เคล็ดลับดีๆสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจด้านฟาร์มหรือการเลี้ยงสัตว์ วิธีในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานการเลี้ยงสัตว์ที่ดี มีอะไรบ้าง มาดูกันค่ะ
Read Moreในปัจจุบันการผลิตพลังงานจากขยะเพื่อใช้ทดแทนพลังงานจากฟอสซิลได้รับความสนใจมากขึ้น เป็นอีกหนึ่งแนวทางในการแก้ปัญหาที่ยั่งยืน เนื่องจากช่วยแก้ปัญหาเรื่องการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาของประเทศที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาในเรื่องการลดลงของแหล่งทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตพลังงานได้อีกด้วย
Read MoreCity Gas Grid เต่างอย โมเดล การพัฒนาที่ยั่งยืนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อชุมชน (SDGs)
City Gas Grid เต่างอย ผลผลิตจากงานวิจัยก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG )ของสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่นำไปใช้ได้จริงเพื่อคนในชุมชน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อชุมชน (SDGs)
Read Moreแนวทางการ สร้างชุมชนน่าอยู่ ไร้มลพิษ ด้วยพลังงานทดแทนหรือ Green and Clean Community Solution
การพัฒนาชุมชนสู่ชุมชนสังคมสีเขียวอย่างมีประสิทธิภาพนั้น
หลักสำคัญคือจำเป็นต้องมีการบริการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจำเป็นต้องดูแลรักษาระบบนิเวศภายในชุมชุมให้อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ปลอดจากปัญหามลพิษ รวมถึงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศอีกด้วย
เทคโนโลยีของ ERDI-CMU ที่พร้อมให้คำปรึกษาและบริการ
เพื่อสร้างพลังงานสะอาดเพื่อชุมชนและการเปลี่ยนของเสียภายในชุมชนให้เป็นพลังงานทดแทน