ERDI-CMU พัฒนา”ระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรีเพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ลดการปล่อยก๊าคาร์บอน8.6 เมตริกตันต่อปี

ERDI-CMU พัฒนา”ระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรีเพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ลดการปล่อยก๊าคาร์บอน8.6 เมตริกตันต่อปี

สถาบันพลังงาน มช. พัฒนา”ระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรีเพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ลดการปล่อยก๊าคาร์บอน8.6 เมตริกตันต่อปี

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินงานโครงการการพัฒนาระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม โดยตำแหน่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

 1)การศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบแบตเตอรี่ และระบบการจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของแบตเตอรี่

2) .การทดสอบระบบต้นแบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน และบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ให้มีเสถียรภาพในการทำงาน

ในการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลข ของระบบจัดการความร้อน ปัจจุบันได้ทำการศึกษาในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยอากาศ ระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยน้ำ และระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วย phase change media จากการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ น้ำ และ phase change media wบว่า ระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ จะเป็นระบบการมีการจัดการทางด้านความร้อนที่มีการกระจายตัวที่ดีที่สุด คือ การหมุนเวียนของอากาศกระจายตัวไปตามระบบแบตเตอรี่ได้อย่างทั่วถึง สามารกระบายความร้อนของแบตเตอร์ได้ในทุกพื้นผิวงองบตตอรี่ โดยสามารถลดอุณหภูมิได้ประมาณ 6-8 องศาเซลเซียส อีกทั้งตัวระบบสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว ตามขอบเขตการทำงานที่ตั้งไว้ จึงเลือกระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ

ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ ในการนำไปสร้างเป็นต้นแบบในการจัดการทางด้านอุณหพลศาสตร์ของระบบแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 Wh เพื่อนำไปติดตั้งและทดสอบในการใช้งานจริงกายในอาคารที่มีการเชื่อมต่อเป็นโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก

ในการสร้างระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นระบบที่ควบคุมและสั่งการการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อนด้วยอากาศ ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ โดยในขณะแบตเตอรี่ทำงานในการอัดและคายประจุ หากอุณหภูมิของแบตเตอรี่มีอุณหภูมิสูงกว่าที่กำหนดไว้ (38 *C) ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งไปเปิดระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ ให้ทำงานในการควบคุมอุณหภูมิของแบตตอรี่ให้ไม่เกินที่ (50 *C) และเมื่ออุณหภูมิของแบตเตอรี่ต่ำกว่าค่าที่กำหนด ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งให้ระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศหยุดการทำงาน ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นบอร์ดที่รับข้อมูลของอุณหภูมิจากการวัดอุณหภูมิภายในเซลล์ แล้วประมวลผลตามการตั้งค่าขอบเขตของอุณหภูมิในการส่งคำสั่งต่างๆ ไปควบคุมการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อน

การเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการทำงานของระบบแบตเตอรี่ร่วมกับไฟฟ้าจากสายส่ง และเซลล์แสงอาทิตย์ ของการใช้ไฟฟ้ากายในอาคาร จะมีการต่อระบบไฟฟ้าของพลังงานไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เข้าไปมายังอาคารต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าหลัก โดยมีขนาดกำลังการผลิตรวม ที่ 30 kW ในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 5 kWh จำนวน2 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 3 kW และระบบการบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ทั้ง 2 ระบบ โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้ากายในห้อง server ของอาคาร และในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 25 kWh จำนวน 1 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 15 kW และระบบการบริหารจัดการ

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้าของระบบปรับอากาศของชั้น 2 ภายในอาคาร โดยระบบโครงข่ายไฟฟ้าของระบบจะมีการแสดงคำสถานะการทำงานแบu Real time ผ่านระบบ onlineรูปแบบการแสดงผล จะมีการแสดงผลทุกๆ 15 นาที โดยคำการแสดงผล จะแสดงค่า การใช้ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจาก

ไฟกริด ค่าปริมาณและกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทน ค่า %S0C และปริมาณไฟฟ้าของแบตเตอรี่ รวมถึง

ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจากการใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมดของอาคาร

จากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า ปัจจุบันระบบแบตเตอรี่ยังมีราคาสูง มีระยะเวลาใน

การคืนทุนของการลงทุน ประมาณ 10 ปี ถือเป็นการลงทุนที่มีระยะเวลาในการคืนทุนที่ค่อนข้างนาน โดยหากราคาต้นทุน

ของระบบแบตเตอรี่ มีราคาลดลงเหลือไม่สูงกว่า 20,000 บาท/kWh จะมีระยะเวลาในการคืนทุนของการลงทุนน้อยกว่า

7 ปี ทำให้ระบบแบตเตอรี่มีความน่าสนใจในการลงทุนเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิต

1. ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ในการอัด และคายประจุ เพื่อ

ยืดอายุการทำงานของระบบแบตเตอรี่ สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม

2. ระบบ บริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตตอรี่แบบลิเธียม ในการควบคุม และติดตามการ

ทำงานของระบบ และเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

3. โครงง่ายระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า จำนวน 3 แหล่งกักเก็บ รวม 35 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อใช้ร่วมกับโครงง่าย

ไฟฟ้าอัจฉริยะ (smart grid) ในบ้านเรือน ขนาด 5 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ ในอุตสาหกรรม ขนาด 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ

ระบบติดตามการทำงานแบบ real time

ผลลัพธ์

1. เพิ่มความเสถียรภาพ ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

จากระบบจัดการการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ร่วมกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเซลล์

แสงอาทิตย์

2. ลดความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดรวมเท่ากับ 35 กิโลวัตต์ ในเวลาที่มีการใช้พลังงานสูงสุด และ

ลดการใช้พลังงานจากการกักเก็บพลังงานไม่น้อยกว่า 11,550 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี คิดเป็น 9.93 x 10-4 ktoe ต่อปี

และช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 8.6 metric tons ต่อปี

3. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ในการประเมิน

ความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์นโยบาย Energy 4.0 และ AEDP ของประเทศ

สถาบันพลังงาน มช. พัฒนา”ระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรีเพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้า สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ลดการปล่อยก๊าคาร์บอน8.6 เมตริกตันต่อปี

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินงานโครงการการพัฒนาระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม โดยตำแหน่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

 1)การศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบแบตเตอรี่ และระบบการจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของแบตเตอรี่

2) .การทดสอบระบบต้นแบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน และบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ให้มีเสถียรภาพในการทำงาน

ในการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลข ของระบบจัดการความร้อน ปัจจุบันได้ทำการศึกษาในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยอากาศ ระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยน้ำ และระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วย phase change media จากการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ น้ำ และ phase change media wบว่า ระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ จะเป็นระบบการมีการจัดการทางด้านความร้อนที่มีการกระจายตัวที่ดีที่สุด คือ การหมุนเวียนของอากาศกระจายตัวไปตามระบบแบตเตอรี่ได้อย่างทั่วถึง สามารกระบายความร้อนของแบตเตอร์ได้ในทุกพื้นผิวงองบตตอรี่ โดยสามารถลดอุณหภูมิได้ประมาณ 6-8 องศาเซลเซียส อีกทั้งตัวระบบสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว ตามขอบเขตการทำงานที่ตั้งไว้ จึงเลือกระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ

ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ ในการนำไปสร้างเป็นต้นแบบในการจัดการทางด้านอุณหพลศาสตร์ของระบบแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 Wh เพื่อนำไปติดตั้งและทดสอบในการใช้งานจริงกายในอาคารที่มีการเชื่อมต่อเป็นโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก

ในการสร้างระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นระบบที่ควบคุมและสั่งการการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อนด้วยอากาศ ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ โดยในขณะแบตเตอรี่ทำงานในการอัดและคายประจุ หากอุณหภูมิของแบตเตอรี่มีอุณหภูมิสูงกว่าที่กำหนดไว้ (38 *C) ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งไปเปิดระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ ให้ทำงานในการควบคุมอุณหภูมิของแบตตอรี่ให้ไม่เกินที่ (50 *C) และเมื่ออุณหภูมิของแบตเตอรี่ต่ำกว่าค่าที่กำหนด ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งให้ระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศหยุดการทำงาน ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นบอร์ดที่รับข้อมูลของอุณหภูมิจากการวัดอุณหภูมิภายในเซลล์ แล้วประมวลผลตามการตั้งค่าขอบเขตของอุณหภูมิในการส่งคำสั่งต่างๆ ไปควบคุมการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อน

การเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการทำงานของระบบแบตเตอรี่ร่วมกับไฟฟ้าจากสายส่ง และเซลล์แสงอาทิตย์ ของการใช้ไฟฟ้ากายในอาคาร จะมีการต่อระบบไฟฟ้าของพลังงานไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เข้าไปมายังอาคารต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าหลัก โดยมีขนาดกำลังการผลิตรวม ที่ 30 kW ในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 5 kWh จำนวน2 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 3 kW และระบบการบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ทั้ง 2 ระบบ โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้ากายในห้อง server ของอาคาร และในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 25 kWh จำนวน 1 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 15 kW และระบบการบริหารจัดการ

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้าของระบบปรับอากาศของชั้น 2 ภายในอาคาร โดยระบบโครงข่ายไฟฟ้าของระบบจะมีการแสดงคำสถานะการทำงานแบu Real time ผ่านระบบ onlineรูปแบบการแสดงผล จะมีการแสดงผลทุกๆ 15 นาที โดยคำการแสดงผล จะแสดงค่า การใช้ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจาก

ไฟกริด ค่าปริมาณและกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทน ค่า %S0C และปริมาณไฟฟ้าของแบตเตอรี่ รวมถึง

ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจากการใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมดของอาคาร

จากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า ปัจจุบันระบบแบตเตอรี่ยังมีราคาสูง มีระยะเวลาใน

การคืนทุนของการลงทุน ประมาณ 10 ปี ถือเป็นการลงทุนที่มีระยะเวลาในการคืนทุนที่ค่อนข้างนาน โดยหากราคาต้นทุน

ของระบบแบตเตอรี่ มีราคาลดลงเหลือไม่สูงกว่า 20,000 บาท/kWh จะมีระยะเวลาในการคืนทุนของการลงทุนน้อยกว่า

7 ปี ทำให้ระบบแบตเตอรี่มีความน่าสนใจในการลงทุนเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิต

1. ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ในการอัด และคายประจุ เพื่อ

ยืดอายุการทำงานของระบบแบตเตอรี่ สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม

2. ระบบ บริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตตอรี่แบบลิเธียม ในการควบคุม และติดตามการ

ทำงานของระบบ และเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

3. โครงง่ายระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า จำนวน 3 แหล่งกักเก็บ รวม 35 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อใช้ร่วมกับโครงง่าย

ไฟฟ้าอัจฉริยะ (smart grid) ในบ้านเรือน ขนาด 5 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ ในอุตสาหกรรม ขนาด 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ

ระบบติดตามการทำงานแบบ real time

ผลลัพธ์

1. เพิ่มความเสถียรภาพ ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

จากระบบจัดการการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ร่วมกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเซลล์

แสงอาทิตย์

2. ลดความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดรวมเท่ากับ 35 กิโลวัตต์ ในเวลาที่มีการใช้พลังงานสูงสุด และ

ลดการใช้พลังงานจากการกักเก็บพลังงานไม่น้อยกว่า 11,550 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี คิดเป็น 9.93 x 10-4 ktoe ต่อปี

และช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 8.6 metric tons ต่อปี

3. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ในการประเมิน

ความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์นโยบาย Energy 4.0 และ AEDP ของประเทศ

สถาบันพลังงาน มชC

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์หาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ดำเนินงานโครงการการพัฒนาระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อการบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม โดยตำแหน่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือ

 1)การศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบแบตเตอรี่ และระบบการจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของแบตเตอรี่

2) .การทดสอบระบบต้นแบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บพลังงาน และบริหารจัดการโครงข่ายไฟฟ้าสำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม ให้มีเสถียรภาพในการทำงาน

ในการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลข ของระบบจัดการความร้อน ปัจจุบันได้ทำการศึกษาในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยอากาศ ระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วยน้ำ และระบบจัดการความร้อนในส่วนของระบบจัดการความร้อนด้วย phase change media จากการศึกษาด้วยแบบจำลองเชิงตัวเลขของระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ น้ำ และ phase change media wบว่า ระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ จะเป็นระบบการมีการจัดการทางด้านความร้อนที่มีการกระจายตัวที่ดีที่สุด คือ การหมุนเวียนของอากาศกระจายตัวไปตามระบบแบตเตอรี่ได้อย่างทั่วถึง สามารกระบายความร้อนของแบตเตอร์ได้ในทุกพื้นผิวงองบตตอรี่ โดยสามารถลดอุณหภูมิได้ประมาณ 6-8 องศาเซลเซียส อีกทั้งตัวระบบสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว ตามขอบเขตการทำงานที่ตั้งไว้ จึงเลือกระบบการจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ

ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ ในการนำไปสร้างเป็นต้นแบบในการจัดการทางด้านอุณหพลศาสตร์ของระบบแบตเตอรี่ ขนาด 5 และ 25 Wh เพื่อนำไปติดตั้งและทดสอบในการใช้งานจริงกายในอาคารที่มีการเชื่อมต่อเป็นโครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก

ในการสร้างระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นระบบที่ควบคุมและสั่งการการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อนด้วยอากาศ ที่มีการติดตั้งระบบทางด้านบนของระบบแบตเตอรี่ โดยในขณะแบตเตอรี่ทำงานในการอัดและคายประจุ หากอุณหภูมิของแบตเตอรี่มีอุณหภูมิสูงกว่าที่กำหนดไว้ (38 *C) ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งไปเปิดระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศ ให้ทำงานในการควบคุมอุณหภูมิของแบตตอรี่ให้ไม่เกินที่ (50 *C) และเมื่ออุณหภูมิของแบตเตอรี่ต่ำกว่าค่าที่กำหนด ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ จะส่งคำสั่งให้ระบบจัดการทางด้านความร้อนของอากาศหยุดการทำงาน ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ เป็นบอร์ดที่รับข้อมูลของอุณหภูมิจากการวัดอุณหภูมิภายในเซลล์ แล้วประมวลผลตามการตั้งค่าขอบเขตของอุณหภูมิในการส่งคำสั่งต่างๆ ไปควบคุมการทำงานของระบบการจัดการทางด้านความร้อน

การเชื่อมต่อระบบโครงข่ายไฟฟ้าของการทำงานของระบบแบตเตอรี่ร่วมกับไฟฟ้าจากสายส่ง และเซลล์แสงอาทิตย์ ของการใช้ไฟฟ้ากายในอาคาร จะมีการต่อระบบไฟฟ้าของพลังงานไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เข้าไปมายังอาคารต่อเข้ากับระบบไฟฟ้าหลัก โดยมีขนาดกำลังการผลิตรวม ที่ 30 kW ในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 5 kWh จำนวน2 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 3 kW และระบบการบริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ ทั้ง 2 ระบบ โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้ากายในห้อง server ของอาคาร และในส่วนของระบบแบตเตอรี่ขนาด 25 kWh จำนวน 1 ระบบ จะต่อเชื่อมกับ Hybrid Inverter ขนาด 15 kW และระบบการบริหารจัดการ

ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่โดยจะต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้าของระบบปรับอากาศของชั้น 2 ภายในอาคาร โดยระบบโครงข่ายไฟฟ้าของระบบจะมีการแสดงคำสถานะการทำงานแบu Real time ผ่านระบบ onlineรูปแบบการแสดงผล จะมีการแสดงผลทุกๆ 15 นาที โดยคำการแสดงผล จะแสดงค่า การใช้ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจาก

ไฟกริด ค่าปริมาณและกำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทน ค่า %S0C และปริมาณไฟฟ้าของแบตเตอรี่ รวมถึง

ปริมาณและกำลังไฟฟ้าจากการใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมดของอาคาร

จากการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า ปัจจุบันระบบแบตเตอรี่ยังมีราคาสูง มีระยะเวลาใน

การคืนทุนของการลงทุน ประมาณ 10 ปี ถือเป็นการลงทุนที่มีระยะเวลาในการคืนทุนที่ค่อนข้างนาน โดยหากราคาต้นทุน

ของระบบแบตเตอรี่ มีราคาลดลงเหลือไม่สูงกว่า 20,000 บาท/kWh จะมีระยะเวลาในการคืนทุนของการลงทุนน้อยกว่า

7 ปี ทำให้ระบบแบตเตอรี่มีความน่าสนใจในการลงทุนเพิ่มมากขึ้น

ผลผลิต

1. ระบบควบคุมและจัดการทางอุณหพลศาสตร์ของระบบจัดการลิเธียมแบตเตอรี่ในการอัด และคายประจุ เพื่อ

ยืดอายุการทำงานของระบบแบตเตอรี่ สำหรับภาคครัวเรือน และอุตสาหกรรม

2. ระบบ บริหารจัดการระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตตอรี่แบบลิเธียม ในการควบคุม และติดตามการ

ทำงานของระบบ และเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

3. โครงง่ายระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า จำนวน 3 แหล่งกักเก็บ รวม 35 กิโลวัตต์ชั่วโมง เพื่อใช้ร่วมกับโครงง่าย

ไฟฟ้าอัจฉริยะ (smart grid) ในบ้านเรือน ขนาด 5 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ ในอุตสาหกรรม ขนาด 25 กิโลวัตต์ชั่วโมง และ

ระบบติดตามการทำงานแบบ real time

ผลลัพธ์

1. เพิ่มความเสถียรภาพ ประสิทธิภาพและคุณภาพของการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

จากระบบจัดการการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ร่วมกับเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเซลล์

แสงอาทิตย์

2. ลดความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดรวมเท่ากับ 35 กิโลวัตต์ ในเวลาที่มีการใช้พลังงานสูงสุด และ

ลดการใช้พลังงานจากการกักเก็บพลังงานไม่น้อยกว่า 11,550 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อปี คิดเป็น 9.93 x 10-4 ktoe ต่อปี

และช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ไม่น้อยกว่า 8.6 metric tons ต่อปี

3. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ของระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า โดยใช้แบตเตอรี่แบบลิเธียม ในการประเมิน

ความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์นโยบาย Energy 4.0 และ AEDP ของประเทศ

เรื่องที่น่าสนใจ

สบายกาย สบายกระเป๋า            แค่รู้จักโหมดการทำงานแอร์

สบายกาย สบายกระเป๋า แค่รู้จักโหมดการทำงานแอร์

หลังคาบ้านที่เหมาะในการติดตั้งแผง Solar Cell

หลังคาบ้านที่เหมาะในการติดตั้งแผง Solar Cell

ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์

ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์

การติดตั้งโซล่าเซลล์ ออนกริด เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้า ต้องขออนุญาตหรือไม่?

การติดตั้งโซล่าเซลล์ ออนกริด เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้า ต้องขออนุญาตหรือไม่?

เรื่องล่าสุด

หมวดหมู่