ปัจจุบัน ประเทศไทยมีการติดตั้งระบบผลิตก๊าซชีวภาพไปทั่วประเทศ ทั้งขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ ครอบคลุมของเสียต่างๆ ที่มีในประเทศ ไม่ว่าจะเป็นของเสียจากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ หรือของเสียจากภาคอุตสาหกรรมเกษตร และขยะ เช่น โรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลัง โรงงานน้ำมันปาล์ม และโรงงานเอทานอล โดยมีวัตถุประสงค์มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม แก้ไขเรื่องกลิ่นเหม็นต่อชุมชนใกล้เคียง หรือการผลิตพลังงานไว้ใช้เองเพื่อทดแทนก๊าซหุงต้ม น้ำมันดีเซล หรือไฟฟ้า พร้อมกับมีแรงกระตุ้นจากกระบวนการทางด้านกลไกการพัฒนาที่สะอาด(CDM) ถือเป็นการนำของเสียที่เคยปล่อยทิ้งไปกลับมาสร้างมูลค่า และยังเป็นพลังงานทดแทนที่เราผลิตได้เองไม่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ แต่อย่างไรก็ตามหากเราไม่มีความระมัดระวัง และวางมาตรการด้านความปลอดภัยอย่างดีพอแล้ว ระบบก๊าซชีวภาพอาจสร้างเสียหาย และเกิดอันตรายได้ ดังนั้น การทำความรู้จักกับระบบก๊าซชีวภาพ อันตรายและความปลอดภัยจึงเป็นสิ่งสำคัญยิ่งที่ผู้ใช้งานต้องมีความรู้อย่างเพียงพอ
Read Moreบนหลังคาตึกเปียโนได้ติดตั้งแผ่นโซล่าจำนวน 500 กว่าแผง
รวมผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ภายในตึกได้ประมาณ 180 กิโลวัตต์/ชั่วโมง
“สมคิด” ลั่น 5 ปีไทยผงาดฮับรถยนต์ไฟฟ้า สั่งบีโอไอทำมาตรการเพิ่ม เน้นผลิตแบตเตอรี่เล็งให้สิทธิประโยชน์มากกว่า 8 ปี มอบกรมบัญชีกลางหารือราคากลางรถอีวีสำหรับหน่วยงานรัฐ “สุริยะ” ดันโครงการวินสะอาดให้จยย.รับจ้างเปลี่ยนเป็นรถไฟฟ้า
Read MoreSolar Cell หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ คือ อุปกรณ์ที่ผลิตจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor) เมื่อได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ แสงอาทิตย์จะเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยมีหลักการทำงานคือ เมื่อแสงอาทิตย์ตกกระทบเซลล์แสงอาทิตย์ จะเกิดการสร้างพาหะนำไฟฟ้าประจุลบ (เรียกว่า อิเล็กตรอน) และประจุบวก (เรียกว่า โฮล)
Read Moreขยะเศษอาหารจัดการอย่างไรให้เกิดประโยชน์?
Read MoreERDI – CMU กับแนวทางในการจัดการ “น้ำเสียหรือของเสีย” ที่เกิดจากฟาร์มปศุสัตว์ หรือเกิดจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม #โดยการเปลี่ยนน้ำเสียให้เป็นพลังงาน ตามแนวทาง Wastewater Management Solution
ซึ่งนอกจากจะสามารถจัดการปัญหาน้ำเสียหรือของเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยังได้พลังงานทดแทนในรูปแบบก๊าซชีวภาพอีกด้วย โดยการนำน้ำเสียมาเปลี่ยนเป็นพลังงาน
“…การเร่งรัดการลงทุนช่วงรอยต่อของแหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณและแหล่งบงกช ที่กำลังจะหมดอายุสัมปทานในปี 2565 ซึ่งเบื้องต้นคาดว่า จะเกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้นประมาณ 2,000 อัตรา จากการสร้างแท่นผลิตปิโตรเลียมจากทั้ง 2 แหล่ง หรือจะเป็นการผลักดันเรื่องการรื้อถอนแท่นปิโตรเลียมที่ไม่ได้ใช้งานต่อ โดยเฉพาะในแหล่งเอราวัณและแหล่งบงกช ที่เบื้องต้นจะมีการรื้อถอนประมาณ 53 แท่น ซึ่งในส่วนนี้จะทำให้เกิดมูลค่าการลงทุนกว่า 10,000 ล้านบาท และช่วยสร้างอาชีพให้คนไทยต่อเนื่องอีกกว่า 1,000 อัตราต่อปี…”
Read Moreคณะกรรมการกองทุนเพื่…
Read Moreวิธีประหยัดพลังงานภายในบ้านง่ายๆใครๆก็ทำได้
Read More