รูปแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพ

รูปแบบระบบผลิตก๊าซชีวภาพ

ระบบผลิตก๊าซชีวภาพหรือระบบบําบัดน้ําเสียแบบไม่ใช้ออกซิเจนถูกนํามาใช้ในการกําจัดตะกอนส่วน เกินจากระบบบําบัดน้ําเสียแบบใช้ออกซิเจน ทั้งนี้เพื่อลดปริมาตรและทําให้ตะกอนคงสภาพดีขึ้น ในอดีตที่ผ่านมาได้มีการนําเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้ในการบําบัดน้ําเสียอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลายมากขึ้นอย่างมากด้วยเหตุผลหลักสองประการ คือช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบําบัดน้ําเสียและสามารถช่วยลดการใช้สารพลังงานของโรงงาน

อ่านต่อ...
ทำความรู้จักยานยนต์ไฟฟ้า         4 ประเภท

ทำความรู้จักยานยนต์ไฟฟ้า 4 ประเภท

ทั่วโลกเริ่มตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อม และการใช้พลังงานมากขึ้น รัฐบาลหลายประเทศจึงเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อเกื้อหนุนรถยนต์พลังงานไฟฟ้า ทำให้มีโอกาสเป็นไปได้ที่จะเห็น รถยนต์ไฟฟ้า วิ่งตามท้องถนนในเร็ววัน

อ่านต่อ...
ไม้โตเร็ว 5 ชนิด ที่มีศักยภาพในการปลูกเป็นเชื้อเพลิงทางเลือก

ไม้โตเร็ว 5 ชนิด ที่มีศักยภาพในการปลูกเป็นเชื้อเพลิงทางเลือก

ประเทศไทยมีไม้โตเร็ว 5 ชนิด ที่มีศักยภาพในการปลูกเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกในปัจจุบัน แต่จะมีชนิดไหนบ้างไปดูกันเลยจ้า

อ่านต่อ...
โครงการควบคุมไซยาโนแบคทีเรีย เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำและภูมิทัศน์ของอ่างแก้ว

โครงการควบคุมไซยาโนแบคทีเรีย เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำและภูมิทัศน์ของอ่างแก้ว

การกำจัดไซยาโนแบคทีเรียด้วยวิธีการทางกายภาพ และเคมี สามารถกำจัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่มักจะทำให้เซลล์ของไซยาโนแบคทีเรียแตกออก และปลดปล่อยสารพิษลงสู่แหล่งน้ำได้ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตต่อไป นอกจากนี้ ยังมีค่าใช้จ่ายที่สูง และอาจส่งผลข้างเคียงต่อสิ่งแวดล้อมได้ จึงได้เลือกวิธีการทางชีวภาพมาใช้ควบคุมไซยาโนแบคทีเรีย จุลินทรีย์หลายชนิดสามารถควบคุมการเจริญและกำจัดสารพิษจากไซยาโนแบคทีเรียได้ ซึ่งวิธีการนี้มีประสิทธิภาพสูง

อ่านต่อ...
โครงการลดปริมาณสาหร่ายด้วยสารส้มเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำและทัศนียภาพของอ่างแก้ว

โครงการลดปริมาณสาหร่ายด้วยสารส้มเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำและทัศนียภาพของอ่างแก้ว

สีที่เปลี่ยนแปลงไปจากสาหร่ายปริมาณมากในอ่างแก้วยังส่งกระทบโดยตรงต่อการจัดการน้ำภายในมหาวิทยาลัยเนื่องจากอ่างแก้วเป็นแหล่งน้ำดิบหลักที่ใช้ในการผลิตน้ำประปาให้กับนักศึกษาและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คุณภาพของแหล่งน้ำดิบที่ด้อยลง (มีปริมาณสารอินทรีย์จากสาหร่ายจำนวนมาก) อาจเป็นอันตรายต่อระบบการผลิตน้ำประปา ดังนั้นการกำจัดสาหร่ายออกจากระบบผลิตน้ำประปาจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการควบคุมคุณภาพน้ำประปา ทางสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ERDI-CMU) ได้ดำเนินการวิจัยโดยใช้สารส้มในการตกตะกอนเซลล์สาหร่าย

อ่านต่อ...
อาจารย์ ม.ราชภัฎลำปาง เยี่ยมชมระบบผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) ด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน สำหรับรถขนส่งมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อาจารย์ ม.ราชภัฎลำปาง เยี่ยมชมระบบผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) ด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน สำหรับรถขนส่งมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อาจารย์ ม.ราชภัฎลำปาง เยี่ยมชมระบบผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) ด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน สำหรับรถขนส่งมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อ่านต่อ...
เปลี่ยนซังข้าวโพดเป็นพลังงาน

เปลี่ยนซังข้าวโพดเป็นพลังงาน

การเปลี่ยนซังข้าวโพดให้เป็นพลังงาน เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยลดปัญหาหมอกควันในเขตพื้นที่ภาคเหนือ ซึ่งกระบวนการหลักในการเปลี่ยนเศษชีวมวลหรือซังข้าวโพด ให้เป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง (Corn Pellet)

อ่านต่อ...
เทคนิคการไล่แบบสุญญากาศ เพื่อการเพิ่มศักยภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ ในฟาร์มไก่เนื้อ

เทคนิคการไล่แบบสุญญากาศ เพื่อการเพิ่มศักยภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ ในฟาร์มไก่เนื้อ

มูลไก่เนื้อ ที่เจือปนด้วยแกลบรองพื้นซึ่งเหลือทิ้งจากกระบวนการเลี้ยงไก่เนื้อ นอกจากสามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยปรับปรุงดินแล้วยังสามารถนำมาผลิตเป็นพลังงานทดแทน เพื่อใช้ภายในฟาร์มได้อีกด้วย

อ่านต่อ...

เรื่องล่าสุด

หมวดหมู่