วัน: 21 พฤษภาคม 2021

ใช้ไฟฟ้าเปลี่ยนขยะคาร์บอน เป็น “กราฟีน” วัสดุล้ำค่าแห่งอนาคต

ใช้ไฟฟ้าเปลี่ยนขยะคาร์บอน เป็น “กราฟีน” วัสดุล้ำค่าแห่งอนาคต

ปัญหาขยะล้นโลกและภาวะโลกร้อน ซึ่งเกิดจากการปล่อยคาร์บอนและก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศ กำลังจะได้รับการแก้ไขด้วยนวัตกรรมชิ้นใหม่ โดยสิ่งประดิษฐ์นี้สามารถเปลี่ยนขยะซึ่งมีองค์ประกอบพื้นฐานเป็นคาร์บอนทุกชนิด ให้กลายเป็น “กราฟีน” (Graphene) วัสดุมหัศจรรย์แห่งอนาคตที่มีมูลค่าสูงได้

Read More
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ          CMU-Modified               Covered Lagoon

ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ CMU-Modified Covered Lagoon

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เป็นที่ปรึกษาในการออกแบบ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ณ IOI Unico Desa palm oil mill ตั้งอยู่ที่ รัฐซาบาห์ ประเทศมาเลเซีย โดยออกแบบและกำกับดูแลงานก่อสร้าง ระบบก๊าซชีวภาพสำหรับบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตน้ำมันปาล์มของ Coronation Palm Oil Mill ซึ่งเป็นโรงงานผลิตน้ำมันปาล์มที่มีกำลังการผลิต 60 ตัน/ชั่วโมง ซึ่งทำให้เกิดน้ำเสีย 700 ลบ.ม.ต่อวัน

Read More
สวีเดนกำลังประสบความสำเร็จ ด้านพลังงานไปอีกหนึ่งขั้น

สวีเดนกำลังประสบความสำเร็จ ด้านพลังงานไปอีกหนึ่งขั้น

“สวีเดน” ประเทศที่แทบจะมีขยะไม่เพียงพอ

แถมยังต้องนำเข้าขยะเพื่อมาใช้ในการผลิตพลังงานเพิ่มอีก

และเมื่อไม่นานมานี้ สวีเดนยิ่งเพิ่มความน่าอิจฉา

ให้หลาย ๆ ประเทศ โดยการปิดการใช้โรงงานถ่านหิน

แห่งสุดท้ายในสตอกโฮล์มได้สำเร็จ ก่อนเป้าหมาย 2 ปี

Read More
ข้อดีข้อเสียพลังงานไฮโดรเจน

ข้อดีข้อเสียพลังงานไฮโดรเจน

การใช้พลังงานแสงอาทิตย์และมีไฮโดรเจนเป็นระบบกักเก็บพลังงาน เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างตัวอย่างและให้ความรู้ เพื่อมุ่งสู่อนาคตของการใช้พลังงานทดแทนเป็นทรัพยากรที่มีมูลค่า ผู้เชี่ยวชาญคาดว่าจะเป็นอนาคตของการกักเก็บพลังงาน เนื่องจากพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานราคาถูก ถ้าใช้ระบบกักเก็บพลังงานไฮโดรเจน จะช่วยให้ยิ่งเก็บได้นาน นอกจากนี้ยังมีข้อดีอีกหลายอย่างที่น่าสนใจและช่วยประเทศชาติได้อีกมากมาย

Read More
CBG (Compressed Bio-Methan Gas) ก๊าซฮีโร่เพื่อภาคขนส่ง

CBG (Compressed Bio-Methan Gas) ก๊าซฮีโร่เพื่อภาคขนส่ง

เทคโนโลยีใหม่ที่สามารถนำก๊าซชีวภาพมาใช้ทดแทนก๊าซ NGV ในภาคขนส่ง โดยต้องนำก๊าซชีวภาพมาปรับปรุงคุณภาพโดยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และความชื้นออกจนมีปริมาณก๊าซมีเทน (CH4) ที่ใกล้เคียงกับก๊าซ NGV หรือ CNG ที่ใช้กับยานยนต์ จากนั้นนำมาอัดลงถังที่แรงดัน 200 บาร์เกจ เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ หรือที่เรียกว่า CBG (Compressed Bio-Methane Gas) นั่นเอง

Read More

เรื่องล่าสุด

หมวดหมู่