สาระพลังงาน
พลาสติกที่เราพบเจอในชีวิตประจำวันนั้นมีหลากหลายประเภท
แล้วเราจะแยกพลาสติกแต่ละประเภทได้อย่างไร
มาทำความรู้จักประเภทของพลาสติกกันค่ะ
สมาร์ทกริด (Smart Grid) คือระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ที่นำเทคโนโลยีหลากหลายประเภทเข้ามาทำงานร่วมกัน โดยครอบคลุมตั้งแต่การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีเหล่านั้นตลอดทั้งห่วงโซ่ของระบบไฟฟ้าตั้งแต่การผลิตไฟฟ้า การส่งไฟฟ้า การจำหน่ายไฟฟ้า ไปจนถึงภาคส่วนของผู้บริโภค ได้อย่างชาญฉลาด
สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีการดำเนินการดัดแปลงรถยนต์จากเครื่องยนต์มาใช้มอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อนและใช้พลังงานจากแบตเตอรี่เป็นพลังงานหลักเพื่อทดสอบการนำไปใช้งานจริงหลังการดัดแปลงรวมถึงการนำไปทดสอบบนเครื่องวัดประสิทธิภาพแบบไดโนเทส เพื่อนำค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับรถยนต์ก่อนที่จะนำไปดััดแปลง
รถที่ใช้เชื้อเพลิงในการเผาไหม้มักก่อให้เกิดมลพิษอย่าง PM 2.5 ที่ประเทศไทย และอีกหลายๆ ประเทศทั่วโลกกำลังเผชิญ และเริ่มตระหนักถึงปัญหานี้ แต่ละประเทศจึงพยายามผลักดันนโยบายให้มีการใช้ ‘รถยนต์ไฟฟ้า/รถ EV’ (Electric Vehicle) นอกจากจะช่วยลดการปล่อยคาร์บอนแล้ว ยังเป็นเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมด้วย
ชีวิตหลังเกษียญของเหล่าแบตเตอรี่จากรถไฟฟ้าอาจยังไม่ต้องจบลงที่โรงงานรีไซเคิลอย่างเดียวอีกแล้ว 😉
Refuse Derived Fuel : RDF โดยทั่วไปนิยมเรียกว่า เชื้อเพลิงขยะ แต่สำหรับคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนช. เรียกว่า ก้อนเชื้อเพลิงขยะ และได้มีการพิจารณาศึกษา RDF ซึ่งเป็นประโยชน์กับการจัดการขยะชุมชน รวมทั้งขยะอุตสาหกรรมที่ไม่ใช่ขยะอันตราย ซึ่งมีการทิ้งปะปนกันจนแยกออกได้ยาก จึงขออนุญาตสรุปเนื้อหาของผลการศึกษาจากคณะกรรมาธิการพร้อมแนวคิดจากประสบการณ์ เพื่อเป็นแนวทางการจัดการขยะแบบไทยๆ
สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับมอบหมายจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ให้ดำเนินการสร้างระบบต้นแบบการผลิตก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน ด้วยระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบ CSTR ภายใต้โครงการวิจัยโปรแกรมพัฒนาการผลิตและใช้พลังงานจากพืชพลังงาน เป็นพลังงานทดแทนการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา