ลดฝุ่น PM2.5 กับสถานีอัดประจุไฟฟ้าพลังงานสะอาด(Charging Station)มช.
ฝุ่น PM2.5 ที่มาเยือนในช่วงฤดูหนาวยาวไปถึงต้นฤดูร้อนของทุกปี สาเหตุหนึ่งนอกจากการเผาเศษวัสดุกาเกษตร และการก่อสร้าง ก็คือ การใช้ยายนยนต์ที่ก่อให้มลพิษและฝุ่นควันสถานีอัดประจุไฟฟ้าพลังงานสะอาด(Charging Station)จากพลังงานโซลาร์เซลล์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถือเป็นตัวเลือกหนึ่งของผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้า นอกจากประหยัดแล้วยังช่วยลดฝุ่นควันอีกด้วย
อ่านต่อ...ศรีวิโรจน์ฟาร์ม(SF) กับแนวทางบริหารจัดการแบบ Zero waste
ด้วยแนวคิดที่ว่าจะทำอย่างไรให้ได้มากกว่ากำไร ทำให้ของเสียที่ได้จากธุรกิจต่างๆของเป็นศูนย์ (Zero waste) จนกระทั้งบริษัทได้เข้าร่วมในโครงการส่งเสริมการผลิตก๊าซชีวภาพในฟาร์มเลี้ยงไก่ระยะที่ 1 ปี 2554 เพื่อติดตั้งระบบก๊าซชีวภาพในฟาร์มเลี้ยงไก่ ด้วยเทคโนโลยีและที่ปรึกษาจากสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน นั่นจึงเป็นเสมือนจุดต่อยอดในส่วนของเกษตรพลังงานของบริษัทฯ โดยปัจจุบัน ศรีวิโรจน์ฟาร์มมีระบบก๊าซชีวภาพขนาด 8,000 ลูกบาศก์เมตร ในการรองรับมูลไก่เพื่อปั่นกระแสไฟฟ้าในฟาร์ม
อ่านต่อ...ไบโอแก๊สหรือก๊าซชีวภาพจากเศษอาหาร ที่ ตลาดร่มสัก ฝายหิน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เดินระบบมาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2552 จนถึงปัจจุบัน สามารถผลิตก๊าซชีวภาพปริมาตรสูงสุด 16 ลบ.ม.ต่อวัน ผลิตกากตะกอนปุ๋ยสูงสุด 2-5 กก.ต่อวัน โดยนำก๊าซชีวภาพไปทดแทนก๊าซหุงต้มได้เดือนละ 5-6 ถัง สำหรับต้มน้ำฆ่าเชื้อโรคหลังจากการทำความสะอาดภาชนะ เป็นระยะเวลา 6 ชั่วโมงต่อวัน ปัจจุบันระบบมีกำลังการผลิต 50% ของของเสียเศษอาหาร(ข้อมูลสะสมถึงวันที่ 28 ตุลาคม 2558)กำจัดของเสียจากโรงอาหารตลาดร่มสักรวม 119 ตัน ผลิตก๊าซชีวภาพสะสม 8,326 ลบ.ม. ทดแทน LPG 4,163 กก.
อ่านต่อ...การเก็บภาษีคาร์บอน เป็นเครื่องมือโดยใช้กลไกตลาดลดการพึ่งพาพลังงานเชื้อเพลิงจากพลังงานฟอสซิล และนำไปสู่การเลือกใช้พลังงานสะอาด
อ่านต่อ...เทคโนโลยีก๊าซชีวภาพจากพืชพลังงาน ตอบโจทย์โรงไฟฟ้าชุมชน
CMU – CSTR Technolog…
อ่านต่อ...การติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซชีวภาพ มีเพื่อกำจัดของเสียภายในฟาร์ม พร้อมยังได้ก๊าซชีวภาพเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ เช่น การใช้ทดแทนแก๊สหุงต้ม การผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ในฟาร์ม ที่มากไปกว่านั้นคือกากตะกอนที่เหลือในบ่อหมัก สามารถนำไปตากเพื่อทำเป็นปุ๋ยในการเกษตรได้
อ่านต่อ...ม.เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เยี่ยมชมศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจร มช.
คณะผู้บริหาร นักวิชาการ และนักวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เยี่ยมชมการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ่านต่อ...ERDI CMU แนะนำ การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ ใน 2 รูปแบบ
อ่านต่อ...ระบบแก๊สชีวภาพที่เหมาะสมในระดับชุมชน มีหลากหลายรูปแบบ เช่น แบบพลาสติก PE แบบไฟเบอร์กลาส แบบโอ่ง แบบฝาครอบลอย แบบถุงดำ PVC แบบถุงผ้าเส้นใยไนล่อน PE ระบบบ่อหมักแก๊สชีวภาพแบบโอ่งขนาด 2 ลบม. เมื่อเติมมูลสัตว์ 1 กก./วัน ทำให้เกิดก๊าซชีวภาพในปริมาตรเฉลี่ย 0.5 ลบม./วัน สามารถทดแทนแก๊ส LPG ได้ 0.23 กก./วัน ประหยัดเงิน 5.4 บาท/วัน เมื่อนำไปใช้งานในครัวเรือนทำให้ภาคครัวเรือนสามารถประหยัดค่าแก๊ส LPG ได้ 1,971 บาทต่อปี และหากเพิ่มความจุเป็นขนาด 4 ลบม. ก็จะทำให้สามารถประหยัดค่าแก๊ส LPG ขนาดถัง 15 กก. ได้ถึง 3,942 บาท/ปี หรือ 12 ถัง/ปี (คิดที่การใช้ 1 ถัง/เดือน)
อ่านต่อ...