หมวดหมู่: พลังงานก๊าซชีวภาพ

9 ปีคุ้มทุนก๊าซชีวภาพ ณ บจก.นามหงส์พาวเวอร์

9 ปีคุ้มทุนก๊าซชีวภาพ ณ บจก.นามหงส์พาวเวอร์

นี่คือ อีกหนึ่งความภูมิใจของสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้เป็นที่ปรึกษาให้กับ บริษัท นามหงส์พาวเวอร์ จำกัด มาตลอดในระยะเวลา 9ปีที่ผ่านมา โดยทางสถาบันฯได้ทำการติดตาม ให้คำแนะนำ กับทางบริษัทฯ อย่างสม่ำเสมอ ในระบบก๊าซชีวภาพที่สถาบันฯเป็นผู้ออกแบบและพัฒนา เพื่อให้บริษัทได้ประโยชน์ คุ้มทุนในการลงทุน และช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อชุมชนและสังคมอีกด้วย

Read More
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในฟาร์มไก่

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในฟาร์มไก่

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในฟาร์มไก่ ช่วยลดการใช้พลังงานได้มากยิ่งขึ้น ถึง 40% ของการใช้พลังงานรวม โดยมีระยะเวลาคืนทุนเฉลี่ย 2-3 ปีเท่านั้น

Read More
บำบัดน้ำเสียจากแป้งขนมจีนด้วยก๊าซชีวภาพ

บำบัดน้ำเสียจากแป้งขนมจีนด้วยก๊าซชีวภาพ

“โรงงานแป้งขนมจีน”เป็นอุตสาหกรรมขนาดย่อมในครัวเรือนที่ยังประสบปัญหาการกำจัดน้ำทิ้งหรือน้ำเสียจากโรงงานที่เกิดจากกลิ่นของแป้ง เบื้องต้นผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมนี้มักหาทางออกด้วยตนเอง อาทิ การนำน้ำทิ้งไปใช้ในการเกษตรแต่ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ดังนั้นเพื่อให้ผู้ประกอบการและโรงงานสามารถอยู่ร่วมกับชุมชน “เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียด้วยก๊าซชีวภาพ” จึงถูกนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อให้สามารถลดกลิ่นและนำน้ำทิ้งเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ

Read More
Flare (แฟลร์) หรือ หอเผาทิ้ง ทำไมต้องเผาทิ้ง ไม่เผาไม่ได้หรือ?

Flare (แฟลร์) หรือ หอเผาทิ้ง ทำไมต้องเผาทิ้ง ไม่เผาไม่ได้หรือ?

ไฟที่เผาตามปล่องโรงงานนั้นทำไมต้องเผา? / เผาอย่างนี้ไม่อันตรายหรือ? / ถ้าไม่เผาแล้วเอากลับมาใช้ประโยชน์ได้ไหม? / ไม่มีวิธีอื่นที่ดีกว่าเผาทิ้งหรือ?

Read More
ขี้หมู สู่พลังงานแทนก๊าซหุงต้ม

ขี้หมู สู่พลังงานแทนก๊าซหุงต้ม

เมื่อพูดถึงหมู ทุกคนคงนึกถึงเมนูอร่อยที่ทำจากเนื้อหมู ไม่ว่าจะเป็นข้าวขาหมู หมูปิ้ง หรือข้าวหมูกรอบ แต่รู้ไหมว่านอกจากเนื้อหมูจะทานได้ทุกส่วนแล้ว ขี้ของหมูยังสร้างประโยชน์ให้กับเราได้อีกด้วย โดยขี้หมู 1 ฟาร์ม สามารถผลิตเชื้อเพลิงสะอาดให้กับบ้านได้มากถึง 40 ครัวเรือน

Read More
พลังงานไฟฟ้าและพลังงานทดแทนจากขยะ

พลังงานไฟฟ้าและพลังงานทดแทนจากขยะ

โรงไฟฟ้าจากขยะ ที่ไม่ต้องเผาเพื่อให้ได้พลังงานไฟฟ้า ด้วยเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพแบบหมักแห้ง ของERDI-CMU ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Read More
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ          CMU-Modified               Covered Lagoon

ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ CMU-Modified Covered Lagoon

สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เป็นที่ปรึกษาในการออกแบบ ระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ณ IOI Unico Desa palm oil mill ตั้งอยู่ที่ รัฐซาบาห์ ประเทศมาเลเซีย โดยออกแบบและกำกับดูแลงานก่อสร้าง ระบบก๊าซชีวภาพสำหรับบำบัดน้ำเสียจากโรงงานผลิตน้ำมันปาล์มของ Coronation Palm Oil Mill ซึ่งเป็นโรงงานผลิตน้ำมันปาล์มที่มีกำลังการผลิต 60 ตัน/ชั่วโมง ซึ่งทำให้เกิดน้ำเสีย 700 ลบ.ม.ต่อวัน

Read More
CBG (Compressed Bio-Methan Gas) ก๊าซฮีโร่เพื่อภาคขนส่ง

CBG (Compressed Bio-Methan Gas) ก๊าซฮีโร่เพื่อภาคขนส่ง

เทคโนโลยีใหม่ที่สามารถนำก๊าซชีวภาพมาใช้ทดแทนก๊าซ NGV ในภาคขนส่ง โดยต้องนำก๊าซชีวภาพมาปรับปรุงคุณภาพโดยลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และความชื้นออกจนมีปริมาณก๊าซมีเทน (CH4) ที่ใกล้เคียงกับก๊าซ NGV หรือ CNG ที่ใช้กับยานยนต์ จากนั้นนำมาอัดลงถังที่แรงดัน 200 บาร์เกจ เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ หรือที่เรียกว่า CBG (Compressed Bio-Methane Gas) นั่นเอง

Read More
ก๊าซชีวภาพ จาก โรงงาน สุรากลั่น

ก๊าซชีวภาพ จาก โรงงาน สุรากลั่น

การผลิตสุราชุมชน หรือเหล้าขาว 35 ดีกรี ของวิสาหกิจชุมชนแม่บัวสีกรุ๊ป ที่ ต.แม่ตืน อ.ลี้ จ.ลำพูน ปัจจุบันโรงงานแห่งนี้ต้องประสบปัญหาเรื่องน้ำเสียจากกากส่า จึงได้นำกากส่ามาปรับสภาพให้เหมาะสมและผ่านระบบบำบัดน้ำเสียทำให้ปัจจุบันระบบก๊าซชีวภาพสามารถบำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีค่า COD ลดลง เหลือเพียง 854 มิลลิกรัม/ลิตร และน้ำเสียที่ผ่านกระบวนการบำบัดแล้วยังมีสารอินทรีย์และธาตุอาหารคงเหลืออยู่มาก สามารถนำมาใช้รดสวนลำไยภายในโรงงานเพื่อใช้เป็นปุ๋ย โดยไม่ต้องปล่อยทิ้งออกสู่ภายนอก

Read More

เรื่องล่าสุด

หมวดหมู่