ข่าวศูนย์ข่าวชีวมวล
บริษัท SCG-CBM เยี่ยมชมเทคโนโลยีระบบถังปฎิกรณ์กวนแบบต่อเนื่อง CMU-CSTR
SCG-CBM ศึกษาการออกแบบการทำงานของระบบถังปฎิกรณ์กวนแบบต่อเนื่อง CMU-CSTR เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตพลังงานทางเลือกให้กับภาคอุตสาหกรรมไทย
ไบโอดีเซลจากกากไขมันในบ่อดักไขมัน ณ ศูนย์บริหารจัดการขยะชีวมวลแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ในการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลจากกากไขมัน จะมีขั้นตอนในการผลิตอยู่หลายขั้นตอนเพื่อให้ได้น้ำมันไบโอดีเซลที่คุณภาพดีเทียบเท่าน้ำมันดีเซล ในการนี้เราจะใช้วัตถุดิบจากกากไขมัน มาเป็นวัตถุดิบในการทำน้ำมันไบโอดีเซล จะมีขั้นตอนในการทำอยู่ 8 ขั้นตอน
เยาวชนมูลนิธิโฟโคลาเร เรียนรู้การบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ
เยาวชนมูลนิธิโฟโคลาเร เรียนรู้การบริหารจัดการขยะมูลฝอย การแยกขยะอย่างถูกวิธีมีประสิทธิภาพ
หน่วยงานภาคเอกชน เยี่ยมชมเทคโนโลยี Pyrolysis Mobile Unit
หน่วยงานภาคเอกชน เยี่ยมชมเทคโนโลยีรถต้นแบบ Pyrolysis Mobile Unit
ม.เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เยี่ยมชมศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจร มช.
คณะผู้บริหาร นักวิชาการ และนักวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เยี่ยมชมการบริหารจัดการขยะมูลฝอย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ERDI-CMU กับนโยบายโรงไฟฟ้าชุมชน #พลังงานไฟฟ้าและพลังงานทดแทนจากขยะ
สถาบันฯได้สนองนโยบายตามยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่องพลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์เชิงรุก ภายในช่วงเวลา 5-10 ปี สถาบันฯได้รับมอบหมายให้ดูแล ออกแบบและบริหารการจัดการในส่วนของ ศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจร มช. เพื่อเป็นต้นแบบให้กับชุมชนในการผลิตไฟฟ้าและพลังงานทดแทนจากขยะ
ERDICMUส่ง2โครงการ ศูนย์บริหารจัดการชีวมวลแบบครบวงจร มช. ขึ้นทะเบียน T- VER ลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก หนุนการพัฒนายั่งยืน
ศูนย์บริหารจัดการชีวมวลแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การบริหารงานของสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ERDI-CMU ) ได้รับประกาศเกียรติคุณในการดำเนินกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program) เรียกย่อว่า T-VER จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. โดยได้ทำการขึ้นทะเบียนโครงการ T-VER จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษอาหารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ และโครงการผลิตไบโอดีเซลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะของศูนย์บริหารจัดการชีวมวลแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่คาดว่าจะลดได้ จำนวนทั้งสิ้น 403 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี