ขยะ(ที่ผ่านการคัดแยก)ถูกนำไปผลิตเป็นเชื้อเพลิง
ที่ “ศูนย์บริห…
Read Moreศูนย์บริหารจัดการชีวมวลแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภายใต้การบริหารงานของสถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ERDI-CMU ) ได้รับประกาศเกียรติคุณในการดำเนินกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program) เรียกย่อว่า T-VER จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. โดยได้ทำการขึ้นทะเบียนโครงการ T-VER จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษอาหารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ และโครงการผลิตไบโอดีเซลเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานพาหนะของศูนย์บริหารจัดการชีวมวลแบบครบวงจร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่คาดว่าจะลดได้ จำนวนทั้งสิ้น 403 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี
Read Moreนักเรียนโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย เรียนรู้พลังงานทดแทนก๊าซชีวภาพ
Read Moreคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ เทศบาลตำบลฟ้าฮ่าม เทศบาลตำบลสันผีเสื้อ และเทศบาลตำบลหนองจ๊อม จ.เชียงใหม่ สนใจเยี่ยมชมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน
Read Moreนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เยี่ยมชมศูนย์บริหารจัดการชีวมวลครบวงจร เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างประสบการณ์การทำงานจากสถานที่จริงเพื่อการประกอบอาชีพในอนาคต
Read Moreอาจารย์ ม.ราชภัฎลำปาง เยี่ยมชมระบบผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) ด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน สำหรับรถขนส่งมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Read Moreอาจารย์และนักศึกษา ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เยี่ยมชมและศึกษาดูงานเทคโนโลยีพลังงานทดแทน
Read Moreผู้นำหมู่บ้าน ชุมชน เครือข่ายพลังงานชุมชน จ.แม่ฮ่องสน ให้ความสนใจศึกษาดูงานกระบวนการผลิตพลังงานทางเลือก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอย
Read Moreมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดตั้ง “ศูนย์บริหารจัดการขยะชีวมวลแบบครบวงจร” เพื่อสนองตอบตามแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระยะที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ที่กำหนดยุทธศาสตร์เชิงรุกด้านนวัตกรรมสิ่งแวดล้อมและพลังงาน มุ่งเน้นให้มีระบบการบริหารจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัยแบบครบวงจร ตั้งแต่ต้นทาง เพื่อให้เกิดการจัดการขยะที่ยั่งยืน โดยบูรณาการ 3 เทคโนโลยีเข้าไว้ด้วยกัน ได้แก่ เทคโนโลยีการคัดแยกขยะ เทคโนโลยีก๊าซชีวภาพสำหรับหมักย่อยร่วม และเทคโนโลยีการผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัด (CBG) สามารถผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อนำมาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อใช้ภายในศูนย์ฯ และผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัดสำหรับยานยนต์ (CBG) เพื่อใช้สำหรับระบบรถขนส่งมวลชนของมหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิดกระบวนการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่สมบูรณ์แบบ
Read Moreบริษัท ผลิตภัณฑ์และวัสดุก่อสร้าง จำกัด (SCG) ให้ความสนใจเข้าเยี่ยมชมงาน CMU-Smart city Clean Energy
Read More